แนวปฏิบัติที่ดี: การจัดการความรู้ เรื่อง การพัฒนาบทความจากผลงานวิจัยเพื่อก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ด้านการวิจัย เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การพัฒนาบทความจากผลงานวิจัยเพื่อก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการ" จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน โดยคณะผู้เชี่ยวชาญจากกองการศึกษา ผู้เขียน: อาจารย์ ... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: กฎหมาย TRIUP ACT, การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช ด้านการวิจัย เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับ "กฎหมาย TRIUP ACT, การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช" โดยคณะผู้เชี่ยวชาญจากกองการศึกษา ลำปาง ผู้เขียน: ผศ.ว่าที่ร้อยตรีทนงศักดิ์ สัสดีแพง นางส... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: การบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา" โดยคณาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เชียงใหม่ ผู้เขียน: >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: ด้านการผลิตบัณฑิต เรื่อง "การจัดการความรู้เรื่องเทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล" ด้านการผลิตบัณฑิต คณะผู้จัดทำ: อาจารย์ศิริลักษณ์ นรินทร์รัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ศินุพล พิมพ์พก อาจารย์ปกรณ์ จันทร์อินทร์ อาจารย์ศิวลี ไชยคำ อาจารย์ศักดิ์สิ... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน “การพัฒนาทักษะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคดิจิทัล” ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความสรุปกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน ในหัวข้อ "การพัฒนาทักษะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคดิจิทัล" จัดทำโดยคณะทำงานจากกองการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ผู้จัดทำ: นางนิ... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: การบูรณาการ KM กับการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การผสมผสานการจัดการองค์ความรู้และการเรียนการสอนรายวิชากระบวนการคิดและการแก้ปัญหา ในบริบทของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม" โดยคณาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เชียงใหม่ ผู้เขียน: นางสาวรัตนาก... >> อ่านต่อ
หน่วยวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร Agricultural Technology and Innovation Research Unit (AGRITIRU) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนาพิษณุโลก เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา ได้มีการจัดกิจกรรมการถ่ายทอดผลการวิจัยและองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ศาสตร์พระราชา เทคโนโลยี นวัตกรรม ... >> อ่านต่อ
วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2567 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ประจำปี พ.ศ. 2567 ได้ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานของการพัฒนาช็อกโกแลตกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ณ ศูนย์เรียนรู้แปรรูปโกโก้ดอย ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โครงการนี้เป็นความร่วมมือระหว่าง ธนาคารออมสิน และ มทร.ล้านนา โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมศักยภาพของกลุ่มชุมชนในด้านการบริหารจัดการกลุ่ม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถเข้าสู่ตลาด และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขั... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ศูนย์เรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีเซรามิก สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ได้เปิดประตูต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาจำนวน 15 คน จากหลักสูตรเตรียมบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มทร.ล้านนา (ดอยสะเก็ด) เพื่อเรียนรู้กระบวนการผลิตวัสดุประเภทเซรามิก นายคเชนทร์ เครือสาร นายสิงหล วิชายะ และนายเอกพงศ์ ดวงมาลา นักวิชาการช่างศิลป์ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานของศูนย์ฯ ได้นำคณะเยี่ยมชมโรงสาธิตและผลิตเซรา... >> อ่านต่อ
ระหว่างวันที่ 21-23 กันยายน 2567 มทร.ล้านนา ประสานความร่วมมือกับศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแกน้อย อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ได้จัดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ ภายใต้โครงการอบรมการทำมุ้งลวดให้กับชาวบ้านและเยาวชนบนพื้นที่สูง ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแกน้อย และโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย ตำบลเมืองนะ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี 1)นายเมธัส ภัททิยธนี ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2)นายวธัญญู วรรณพรหม นักวิจัย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน และ3)นายศราวุธ วรรณวิจิตร บุคล... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา